Page 27 - สวดมนต์แปล เล่มใหญ่
P. 27
ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา,
ขันติ คือความอดกลั้น, เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง ;
นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา,
ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง ;
นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผู้ก�าจัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย ;
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต.
ผู้ท�าสัตว์อื่นให้ล�าบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย.
อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, การไม่พูดร้าย การไม่ท�าร้าย ;
ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร, การส�ารวมในปาฏิโมกข์ ;
มัตตัญญุตา จะ ภัตตัส๎มิง, ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค ;
ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด ;
อะธิจิตเต จะ อาโยโค, ความหมั่นประกอบในการท�าจิตให้ยิ่ง ;
เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
ธรรม ๖ อย่างนี้, เป็นค�าสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
อริยธนคาถา
(หันทะ มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.)
ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา,
ศรัทธาในพระตถาคตของผู้ใด ตั้งมั่นอย่างดีไม่หวั่นไหว ;
สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง,
และศีลของผู้ใดงดงาม เป็นที่สรรเสริญที่พอใจ ของพระอริยเจ้า;
สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง,
ความเลื่อมใสของผู้ใดมีในพระสงฆ์ และความเห็นของผู้ใดตรง ;
อะทะฬิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆัง ตัสสะ ชีวิตัง,
*
บัณฑิตกล่าวเรียกเขาผู้นั้นว่าคนไม่จน ชีวิตของเขาไม่เป็นหมัน ;
ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง
อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะสาสะนัง.
เพราะฉะนั้น เมื่อระลึกได้ถึงค�าสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่, ผู้มีปัญญาควร
ก่อสร้างศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และความเห็นธรรมให้เนืองๆ.
* บางแห่งเป็น อะโมฆันตัสสะ ในที่นี้ยึดตามพระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕ หน้า ๓๔๑ ข้อ ๙๑๙
บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศำสน์ จ�ำกัด 25