Page 26 - สวดมนต์แปล เล่มใหญ่
P. 26

เขมาเขมสรณทีปิกคาถา





                                 (หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปิกะคาถาโย ภะณามะ เส.)


           พะหุง เว สะระณัง ยันติ                                             ปัพพะตานิ วะนานิ จะ,




           อารามะรุกขะเจต๎ยานิ                                                มะนุสสา ภะยะตัชชิตา,



                มนุษย์เป็นอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแล้ว, ก็ถือเอาภูเขาบ้าง, ป่าไม้บ้าง,



                อารามและรุกขเจดีย์บ้าง เป็นสรณะ ;


           เนตัง โข สะระณัง เขมัง                                             เนตัง สะระณะมุตตะมัง,




           เนตัง สะระณะมาคัมมะ                                                สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.



                นั่น มิใช่สรณะอันเกษมเลย, นั่น มิใช่สรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนั่นแล้ว,



                ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้.


           โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ     สังฆัญจะ สะระณัง คะโต,




           จัตตาริ อะริยะสัจจานิ                                              สัมมัปปัญญายะ ปัสสะติ,



                ส่วนผู้ใดถือเอาพระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์ เป็นสรณะแล้ว, เห็นอริยสัจคือ



                ความจริงอันประเสริฐสี่, ด้วยปัญญาอันชอบ ;


           ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง                                             ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง,




           อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง                                          ทุกขูปะสะมะคามินัง,



                คือเห็นความทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ความก้าวล่วงทุกข์เสียได้, และหนทาง



                มีองค์แปดอันประเสริฐ, เครื่องถึงความระงับทุกข์ ;


           เอตัง โข สะระณัง เขมัง                                             เอตัง สะระณะมุตตะมัง




           เอตัง สะระณะมาคัมมะ                                                สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.



                นั่นแหละ เป็นสรณะอันเกษม, นั่นเป็นสรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนั่นแล้ว,



                ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้.





                                                      โอวาทปาฏิโมกขคาถา




                                      (หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.)



           สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง,  การไม่ท�าบาปทั้งปวง ;



           กุสะลัสสูปะสัมปะทา,                                             การท�ากุศลให้ถึงพร้อม ;



           สะจิตตะปะริโยทะปะนัง,                                           การช�าระจิตของตนให้ผ่องใส ;



           เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๓ อย่างนี้, เป็นค�าสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.



           24           สวดมนต์แปล ภาค ๒ บทสวดพิจารณาธรรม
   21   22   23   24   25   26   27   28