Page 18 - หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นเอก ระดับประถมศึกษา
P. 18
พุทธศาสนสุภาษิตที่ควรท่องจ�า
๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน ในความประมาท ย่อมเผาสังโยชน์น้อยใหญ่ไป
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา เหมือนไฟไหม้เชื้อน้อยใหญ่ไป ฉะนั้น.
อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถำ ลภติ ทุลฺลภำ. ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
ตนแล เป็นที่พึ่งของตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็น อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา
ที่พึ่งได้ ก็บุคคลมีตนฝึกดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก. อภพฺโพ ปริหานาย นิพฺพานสฺเสว สนฺติเก.
ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัยใน
นตฺถิ อตฺตสมำ เปมำ นตฺถิ ธญฺญสมำ ธนำ ความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อจะเสื่อม (ชื่อว่า)
นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา วุฏฺิ เว ปรมา สรา. อยู่ใกล้พระนิพพานทีเดียว.
สิ่งที่รัก (อื่น) เสมอด้วยตนไม่มี ทรัพย์ (อื่น) ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
เสมอด้วยข้าวเปลือกไม่มี แสงสว่าง (อื่น) เสมอ
ด้วยปัญญาไม่มี ฝนแล เป็นสระอย่างยิ่ง. ๓. ทานวรรค คือ หมวดทาน
ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค อเทยฺเยสุ ททำ ทานำ เทยฺเยสุ นปฺปเวจฺฉติ
ยสฺส อจฺจนฺตทุสฺสีลฺยำ มาลุวา สาลมิโวตฺถตำ อาปาสุ พฺยสนำ ปตฺโต สหายำ นาธิคจฺฉติ.
กโรติ โส ตถตฺตานำ ยถา นำ อิจฺฉตี ทิโส. ผู้ใดให้ทานในบุคคลที่ไม่ควรให้ ไม่ให้ในคนที่
ผู้ใดมีความไร้ศีลธรรมครอบคลุมเหมือนย่าน ควรให้ ผู้นั้นถึงความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อม
ทรายคลุมไม้สาละ ผู้นั้นชื่อว่าทำาตนเหมือนถูก ไม่ได้สหาย.
ผู้ร้ายคุมตัว. ที่มา : ขุททกนิกาย ชาดก
ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท
ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท.
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำาลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้
อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกฺขโว ผิวพรรณ ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข
สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ. ผู้ให้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จักษุ.
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
มีสติ มีศีลดีงาม ตั้งความดำาริไว้ให้ดี คอยรักษา มนาปทายี ลภเต มนาปํ อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคำ
จิตใจของตน. วรสฺส ทาตา วรลาภี จ โหติ เสฏฺนฺทโท เสฏฺมุเปติ านำ.
ที่มา : ทีฆนิกาย มหาวรรค ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของ
อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา เลิศ ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี ผู้ให้
สญฺโญชนำ อณุำ ถูลำ ฑหำ อคฺคีว คจฺฉติ. ของประเสริฐ ย่อมถึงฐานะอันประเสริฐ.
ภิกษุยินดีในความไม่ประมาท หรือเห็นภัย ที่มา : อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต
16 บริษัท ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศำสน์ จ�ำกัด